ผู้ป่วยหอบหืด กับ COVID 19

Health advice for people with asthma

เป็นบทความแปลจาก https://www.asthma.org.uk/advice/triggers/coronavirus-covid-19/

ขอเกริ่นเบื้องต้นว่าการแปลนี้ แปลโดยทีมแอดมิน ของบริษัท ประภัสสร เอ็นจิเนียริ่ง ซัพพลาย จำกัด ตัวแทนจำหน่าย BOSCH VIVATMO อุปกรณ์ตรวจการอักเสบของหลอดลม (FeNO) สำหรับผู้ป่วยหอบหืดเนื่องจากเป็นเทคโนโลยีใหม่ การใช้งานไม่แพร่หลายในประเทศไทย โดยปัจจุบัน ได้มีการใช้งาน Vivatmo เฉพาะโรงพยาบาล BNH และ BCARE (ณ วันที่ 21 มีค 63) ในกลุ่มผู้ป่วยภูมิแพ้และหอบหืด อย่างไรก็ตาม Vivatmo หรือ FeNO device แพทย์ และ ศาสตรจารย์หลายๆท่านได้ให้ความสำคัญ และจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบหอบหืดที่แพร่หลายมากขึ้นในอนาคต

คำแนะนำต่างๆในบทความนี้ อ้างอิงจาก The Asthma UK and British Lung Foundation Partnership ซึ่งเราจะแปลความหมายให้ตรงตัวอักษรที่เขียนมา อาจมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาเล็กน้อยเพื่อความเข้าใจที่ง่ายขึ้น และตรงกับมาตราการจากทางกรมควบคุมโรค กรณีวิธีการที่ขัดแย้งกับประเทศไทย แอดมินขอไม่แปลหรือแปลไม่ตรงตัว โดย remark ข้อความสีแดง
ข้อควรปฏิบัติในประเทศไทยขึ้นอยู่กับดุลพินิจ และคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเป็นสำคัญ

Coronavirus (COVID-19) health advice for people with asthma
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด เมื่อเจอติดเชื้อ COVID 19

When people with asthma get respiratory infections, it can set off their asthma symptoms. To reduce your risk of asthma symptoms, the best action you can take is to follow these simple asthma management steps:

เมื่อกลุ่มผู้ป่วยหอบหืดมีปัญหาการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ สามารถเป็นตัวกระตุ้นอาการหอบหืดขึ้นได้ เพื่อที่จากลดความเสี่ยงของอาการหอบหืด สิ่งที่ควรกระทำคือปฎิบัติตามข้อคำแนะนำเบื้องต้นดังนี้

  • Keep taking your preventer inhaler daily as prescribed. This will help cut your risk of an asthma attack being triggered by any respiratory virus, including coronavirus.
    • หมั่นใช้ยาพ่นที่หมอได้สั่งมาเป็นประจำทุกวัน สิ่งนี้สามารถช่วยคุณตัดความเสี่ยงของอาการหอบหืดที่โดนกระตุ้นจากไวรัสทางเดินหายใจ รวมถึง Corona virus
  • Carry your reliever inhaler (usually blue) with you every day, in case you feel your asthma symptoms flaring up.
    •  พกยาพ่นบรรเทาแบบเฉียบพลัน( ส่วนมากจะสีน้ำเงิน) ตัวไปด้วยเสมอ ในกรณีที่รู้สึกมีสัญญาณเริ่มจะมีปัญหาหอบหืด
  • Download and use an asthma action plan to help you recognise and manage asthma symptoms when they come on.

    • ศึกษาแนวทางการปฎิบัติและแก้ไขปัญหา เพื่อให้ทราบอาการและวิธีปฎิบัติเมื่ออาการหอบหืดกำเริบ (Asthma Action Plan ของประเทศไทย อ้างอิงจาก TAC (THAI ASTHMA COUNCIL) ซึ่งบอกรายละเอียดรวมถึงการตรวจวินิจฉัยของแพทย์ ซึ่งประชาชนทั่วไปอาจจะอ่านบางส่วนที่เป็นใจความสำคัญเกี่ยวกับอาการและวิธีการปฏิบัติ ตามลิงค์ )
  • Start a peak flow diary, if you have a peak flow meter. If you don’t have a peak flow meter, think about getting one from your GP or pharmacist, as it can be a good way of tracking your asthma and helping to tell the difference between asthma symptoms and COVID-19 symptoms. It can also help your medical team to assess you over the phone or video.
    • เริ่มจดบันทึกค่า PEAK FLOW กรณีที่ท่านมีเครื่องตรวจประจำตัว ซึ่งสามารถหาซื้อได้ไม่ยาก ทั้งในร้านขายยา หรือแพทย์ที่ท่านได้รักษาอยู่ เพราะมันจะเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการติดตามประวัติปัญหาของหอบหืดของท่าน และสามารถแบ่งแยกอาการหอบหืดและ COVID-19 และสามารถช่วยทีมแพทย์วินิจฉัยผ่านทางโทรศัพท์ หรือ VDO. (วิธีการใช้ PEAK FLOW โหลดได้ที่นี่ แอดมินเพิ่มให้)
  • If you come down with flu, a cold, or any other respiratory infection, follow our tips for looking after your asthma when you’re not well.
    • เมื่อคุณมีอาการไข้หวัด หรือการติดเชื่อทางเดินหายใจ ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ (ยังไม่ได้แปล)
  • If you smoke it’s vital to quit now as smoking will increase your risk from COVID-19.
    • ถ้าคุณเป็นผู้สูบบุหรี่ สิ่งที่สำคัญคือควรเลิกสูบเพราะบุหรี่จะเพิ่มความเสี่ยงจาก COVID-19

How to reduce the risk (จะลดความเสี่ยงได้อย่างไร)

The Government has now advised that everyone start to reduce the amount of contact they have with others. This is called “social distancing” and it helps cut down the spread of the virus.
รัฐบาลได้แนะนำทุกคนให้หลีกเลี่ยง / ลด การอยู่กับคนหมู่มาก หรือเรียกว่า “Social Distancing” เพื่อลดการติดต่อเพิ่มเติมจากปัญหา Virus

If you have asthma and have no symptoms of COVID-19:

  • Wash your hands often with soap and warm water.
    • ล้างมือเป็นประจำด้วยสบู่ และน้ำอุ่น
  • Use tissues to wipe your nose or catch a sneeze, and then put them in the bin straight away.
    • ใช้กระดาษทิชชู่ในการเช็ดจมูกหรือไอจาม และให้ทิ้งในถังขยะในทันที)
  • Don’t touch your eyes, nose or mouth if your hands aren’t clean.
    • ไม่จับบริเวณดวงตา (ขยี้ตา), จมูก, หรือปาก เมื่อมือของท่านไม่สะอาด
  • Avoid unnecessary interactions with other people. This means avoiding large gatherings, shaking hands with people or hugging them, and unnecessary travel, especially on public transport. You should also avoid going to public venues like bars, restaurants and cinemas. If it’s possible in your job, try to work from home.
    • หลีกเลี่ยงการปฏิสัมพันธ์กับผู้คน นี่หมายถึงการหลีกเลี่ยงการพบปะผู้คนหมู่มาก (ตามที่รัฐบาลไทยได้ประกาศออกมา) หลีกเลี่ยงการจับมือ การโอบกอด หรือการเดินทางที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเดินทางด้วยรถสาธารณะ/ รถไฟฟ้า / หรืออื่นๆ คุณควรหลีกเลี่ยงการไปพื้นที่เสี่ยง (ซึ่งวันนี้รัฐบาลสั่งปิดไปแล้ว) ถ้าเป็นไปได้ พยายามทำงานที่บ้าน หรือ WORK FROM HOME.
  • You do NOT need to stay inside your house at all times or self-isolate. You can go for a walk, or to the park, or to the shops if you need to buy things. Just try to cut down the number of people you meet with on a daily basis. And try to keep your distance from people when you see them.
    • คุณไม่จำเป็นที่จะต้องอยู่ในบ้านตลอดเวลา คุณสามารถออกไปเดินในสวน หรือร้านค้าในกรณีที่ต้องการจะซื้อสิ่งของ เพียงแค่พยายามลดปริมาณคนที่คุณได้พบปะในแต่ละวัน และพยายามมีระยะห่างกับผู้คนเมื่อคุณได้พบพวกเขา
  • Carry on taking all your usual asthma medicines as normal.
    • ให้ปฏิบัติ และใช้ยาหอบหืดที่แพทย์สั่งตามปกติ
  • If someone you live with develops symptoms of COVID-19, you will need to stay in your home for 14 days.
    • เมื่อคนใกล้ชิดของคุณมีอาการ COVID-19 คุณจะต้องอยู่ที่บ้าน (กักบริเวณตัวเอง) อย่างน้อย 14 วัน

If you have asthma and you DO have symptoms of COVID-19 (a new continuous cough or a fever): เมื่อคุณเป็นโรคหอบหืด และมีอาการน่าสงสัยของ COVID-19 (ไอติดต่อกันและมีไข้สูง)

  • You need to stay in your home for 7 days if you live on your own, or 14 days if you live with others. Everyone in your household will need to stay in the house for 14 days.
    • อยู่บ้าน 7 วัน ถ้าคุณอาศัยอยู่คนเดียว ควรจะอยู่ในบ้านเป็นเวลา 14 วัน เพื่อเฝ้าดูอาการ ถ้าเป็นกลุ่มเสี่ยสูง และอยู่ร่วมกับคนในครอบครัว(ตามคำแนะนำจากกรมควบคุมโรค อาจมีหลักปฏิบัติที่แตกต่างไป)
  • You don’t need to contact 111 to tell them you are staying at home.
    • คุณไม่จำเป็นต้องติดต่อ (สายด่วน) เพื่อบอกว่าคุณอยู่ที่บ้าน (กรณีประเทศไทย สายด่วน COVID-19 เบอร์ 1422 จากกรมควบคุมโรค ถ้าคุณมีประวัติการพบปะ หรือเสี่ยงการติดเชื้อจากการเดินทางจากต่างประเทศ หรือ กลุ่มเสี่ยงให้โทรแจ้งสายด่วนทันที จะมีรถมารับที่บ้านท่าน แอดมินไม่แปลตรงตัวเนื่องจาก UK คำแนะนำไม่ตรงกับสาธารณสุขไทย)
  • If your COVID-19 symptoms don’t go away after 7 days, or get worse, or you are having difficulty breathing, call 111 for advice, or 999 if you need emergency care.
    • — ติดต่อสายด่วน 1422 ในกรณีมีความเสี่ยง —
  • Tell them that you have asthma, and if your asthma symptoms are getting worse.
    • ควรแจ้งกับแพทย์ผู้รับผิดชอบ ว่าท่านมีปัญหาโรคหอบหืดประจำตัว
  • If you get an asthma cough and are not sure whether your cough is a symptom of COVID-19 or related to your asthma, please speak to your GP, use the online 111 service or call 111 to ensure that you get the right care.
    • เมื่อคุณมีปัญหาการไอสืบเนื่องมาจากปัญหาหอบหืด หรือไม่แน่ใจว่าปัญหานี้เกินจากการติดต่อ COVID-19 ให้ติดต่อแพทย์ผู้ดูแลท่าน หรือ สายด่วน 1422 เพื่อขอคำปรึกษา แปลไม่ตรงตัว
  • Keep following your asthma action plan to manage your asthma and so you know what to do if your asthma symptoms get worse. If you are having an asthma attack, call 999 for an ambulance as usual, and tell them you have COVID-19 symptoms.
    • ให้วางแผนการจัดการกับปัญหาหอบหืดของคุณ เพื่อที่จะรู้ว่าจะต้องจัดการอย่างไรเมื่อโรคหอบหืดกำเริบ ถ้ามีอาการหอบหืดเฉียบพลัน ต้องรีบแจ้งโรงพยาบาลใกล้ตัวทันที หรือโทร 1422 พร้อมแจ้งว่าคุณอาจจะมีความเสี่ยงกับ COVID-19
  • Carry on taking all your usual asthma medicines as normal.
    • ให้ใช้ยาแก้ไขปัญหาหอบหืดได้ตามปกติ
Related Posts

กายภาพบำบัด และ กิจกรรมบำบัด ต่างกันอย่างไร

ค้นพบความแตกต่างสำคัญระหว่างกายภาพบำบัดและกิจกรรมบำบัด พร้อมข้อมูลเกี่ยวกับเป้าหมาย เทคนิคการรักษา และวิธีการที่ใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกการบำบัดที่เหมาะสมกับความต้องการของคุณ

Spirometer (สไปโรมิเตอร์) วัดสมรรถภาพปอดได้อย่างไร

สไปโรมิเตอร์ (Spirometer) วัดสมรรถภาพปอดได้อย่างไร: ค้นพบวิธีการทำงานของอุปกรณ์นี้ในการวัดปริมาตรและความเร็วของการหายใจ เพื่อประเมินสุขภาพปอดและตรวจหาปัญหาทางการหายใจ

เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบร่างกาย ทำงานอย่างไร

เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบร่างกายทำงานอย่างไร: เรียนรู้วิธีการทำงานของเครื่องมือที่ใช้วัดมวลกล้ามเนื้อ ไขมัน น้ำ และแร่ธาตุในร่างกาย เพื่อช่วยให้คุณเข้าใจสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของตัวเองได้ดียิ่งขึ้น