เครื่องบริหารข้อเข้าแบบต่อเนื่อง FISIOTEK 3000GS

เครื่องบริหารข้อเข้าแบบต่อเนื่อง FISIOTEK 3000GS เป็นเครื่องที่ช่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพของหัวเข่า และสะโพก โดยมีผลการรักษาทางคลินิกดังนี้

ข้อบ่งใช้และประโยชน์
  • เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณข้อเข่า
  • เพิ่มการทำงานของระบบการไหลเวียนของโลหิตหรือสมรรถภาพระบบหายใจ
  • ช่วยเพิ่มพิสัยของการเคลื่อนไหวของสะโพก
    ทำให้กล้ามเนื้อแบะเอ็นรอบข้อ เยื่อหุ้มข้อคลายตัว หรือยึดตัว
  • ลดปวด
  • ลดอาการชาของขา ที่มีสาเหตุมาจากเส้นประสาทถูกกดทับ
  • ลดแรงกดที่เกิดขึ้นบนหมอนรองกระดูก

“อ่านคําเตือนในฉลาก และเอกสารกํากับเครื่องมือแพทย์ก่อนใช้”

 

คำเตือน
  • ใช้โดยแพทย์หรือนักกายภาพบำบัด
  • อาจทำให้เกิดอาการช็อค หรือหมดสติจากการทำงานที่ผิดปกของเครื่อง หรืออาจทำให้เกิดการบาดเจ็บของร่างกายจากการรั่วของกระแสไฟฟ้าของเครื่อง
  • ตรวจสอบสวิตช์หยุดฉุกเฉินให้ทำงานได้ตลอดเวลา
  • บริเวณของร่างกายที่จะใช้กับเครื่อง
  • ระยะเวลาในการออกกำลังกายของแต่ละเครื่อง
  • การปรับการตั้งค่าอุปกรณ์ จะต้องกำหนดการตั้งค่าโดยแพทย์หรือนักกายภาพบำบัด
  • หากผู้ป่วยไม่สามารถดูแลตัวเองได้ระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยควรต้องมีผู้ช่วยเหลือ
  • นักกายภาพบำบัดต้องให้คำแนะนำวิธีการใช้รีโมทสำหรับกดเริ่มต้นและหยุด กับผู้ป่วย
  • อาการต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากการออกกำลังกายมากเกินไป เช่น เป็นลม หน้ามืด วิงเวียน
  • ปวดกล้ามเนื้อ
  • อันตรายต่างๆที่อาจเกิดจากการใช้เครื่อง

ข้อควรระวัง
  • ความผิดปกติเกี่ยวกับการทำงานของหัวใจ
  • ความดันโลหิตผิดปกติ
  • ภาวะโลหิตจาง
  • ภาวะข้อหลุดหรือเคลื่อน
  • การใช้แรงต้านหรือแรงดึงที่มาก อาจทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด
  • ระยะแรกหลังการผ่าตัด
  • เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และหญิงมีครรภ์
  • ผู้มีอาการเหนื่อยล้าและอ่อนเพลีย
  • มีอาการปวดเมื่อยหรือบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
  • การอักเสบและการติดเชื้อ
  • อาจทำให้เกิดอาการปวดกรณีที่เกิดแรงดึงมากเกินไป หรือระยะเวลาดึงนานเกินไป
  • ภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะกระดูกพรุน (Ankylosis spondylitis)
  • มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
  • ภาวะข้อกระดูกสันหลังไม่มั่นคง (Instability of spine)

ข้อห้ามใช้
  • การบาดเจ็บระยะเฉียบพลันในบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการดึง
  • บริเวณที่มีแผลบาดเจ็บ หรือแผลเปิด
  • ผู้ที่เป็นมะเร็ง หรือเนื้องอกของกระดูก หรือเนื้อเยื่อบริเวณที่ดึง
  • ภาวะการติดเชื้อของกระดูกสันหลัง เช่น วัณโรค
  • ภาวะกระดูกพรุนขั้นรุนแรง
  • ภาวะประสาทไขสันหลังถูกกดทับ หรืออัมพาตท่อนล่าง
  • ภาวะเป็นริดสีดวงทวารขั้นรุนแรง ภาวะไส้เลื่อน
  • ภาวะเส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง
  • ภาวะความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมได้